"ซูเปอร์บลูบลัดมูน" ของ จันทรุปราคา มกราคม พ.ศ. 2561

ปรากฎการณ์นี้เป็น "ซูเปอร์มูน" (Super Moon) ด้วยความที่ดวงจันทร์อยู่ใกล้ระยะทางที่ใกล้ที่สุดจากโลกในวงโคจรทำให้มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางกว้างขึ้น 7% หรือมีพื้นที่ใหญ่ขึ้น 14% เมื่อเทียบกับขนาดเฉลี่ยของดวงจันทร์ จันทรุปราคาซูเปอร์มูนครั้งก่อนเกิดขึ้นเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ.​ 2558[7]

พระจันทร์เต็มดวงของวันที่ 31 มกราคม พ.ศ.​ 2561 เป็นพระจันทร์เต็มดวงครั้งที่สองของเดือน (ในเขตเวลาส่วนใหญ่) ทำให้เรียกได้ว่าเป็น "บลูมูน"

นอกจากนี้ด้วยความที่มีสีส้มหรือสีแดง "เลือด" ระหว่างที่เกิดจันทรุปราคา สื่อจึงมักเรียกเหตุการณ์นี้ว่าเป็น "ซูเปอร์บลูบลัดมูน"

ใกล้เคียง

จันทรุปราคา จันทรุปราคา มกราคม พ.ศ. 2561 จันทรุปราคา กันยายน พ.ศ. 2558 จันทรุปราคา เมษายน พ.ศ. 2557 จันทรุปราคา กรกฎาคม พ.ศ. 2561 จันทรุปราคา เมษายน พ.ศ. 2558 จันทรุปราคา มีนาคม พ.ศ. 2549 จันทรุปราคาเต็มดวง ธันวาคม พ.ศ. 2553 จันทรุปราคา กรกฎาคม พ.ศ. 2563 จันทรุปราคา ตุลาคม พ.ศ. 2556

แหล่งที่มา

WikiPedia: จันทรุปราคา มกราคม พ.ศ. 2561 http://eclipse.gsfc.nasa.gov/LEcat5/LE2001-2100.ht... http://eclipse.gsfc.nasa.gov/LEcat5/appearance.htm... http://eclipse.gsfc.nasa.gov/LEplot/LEplot2001/LE2... http://earthsky.org/tonight/super-blue-moon-eclips... http://www.hermit.org/eclipse/2018-01-31/ https://news.nationalgeographic.com/2018/01/super-... https://www.space.com/39241-first-blue-moon-total-... https://www.space.com/39532-super-blue-blood-moon-... https://www.nasa.gov/feature/super-blue-blood-moon...